Add Data Type เพิ่มข้อมูล

 

      มาถึงตอนนี้ก็จะเป็นขั้นตอนการบันทึกข้อมูลลงระบบฐานข้อมูลโปรแกรม MySQL อย่างไรก็ตามคุณจำเป็นต้องมีทักษะคำสั่งของภาษา SQL นะครับ

       สิ่งที่ต้องทราบคือ 1. ชื่อ host 2. userสำหรับMySQL และ 3. รหัสผ่านสำหรับMySQL

        โปรแกรมประกอบไปด้วย

  1. file html ที่เป็นส่วนกรอกข้อมูลลงไปหรือให้ค่าตัวแปรนั้นเอง
  2. file php ที่ทำหน้าที่ประมวลผล ติดต่อฐานข้อมูลและบันทึกข้อมูล

       1. file test1.html ซึ่งมีหน้าตาดังนี้

       สำหรับข้อมูลหรือ SourceCode ดังนี้

<html>
<head><title>แบบทดสอบก่อนเรียน</title></head>
<body>

<form method="POST" action="ques1.php">
<h1>แบบทดสอบก่อนเรียนวิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้น</h1>

ชื่อ <input type="text" name="name">
ชั้น <input type="text" name="class">
โรงเรียน <input type="text" name="school"><p>

1. ข้อใดจัดเป็นหน่วยแสดงผล ? <br>
<input type="radio" name="test1" value="monitor"> ก. monitor<br>
<input type="radio" name="test1" value="keyboard">ข. keyboard<br>
<input type="radio" name="test1" value="mouse">ค. mouse<p>

2. ข้อใดจัดเป็นหน่วยรับข้อมูล ? <br>
<input type="radio" name="test2" value="monitor"> ก. monitor<br>
<input type="radio" name="test2" value="keyboard">ข. keyboard<br>
<input type="radio" name="test2" value="mouse">ค. mouse<p>
<input type="submit" ><input type="reset">

</form>
</body>
</html>

        2. file ques1.php

        การทำงานของโปรแกรมจะเป็นขั้นตอนดังนี้

  1. ติดต่อโปรแกรมฐานข้อมูล MySQL
  2. ติดต่อฐานข้อมูล MySQL ชื่อ test
  3. เปิด ตารางชื่อ testcom และ เขตข้อมูลชื่อ name,class,school,today,time,score
  4. เพิ่มข้อมูลลง Database

        ตามที่ได้ระบายสีแดงไว้

<html>
<head><title>แบบทดสอบก่อนเรียนวิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้น</title>
</head>
<h1>ยินดีต้อนรับ </h1><br>
<?
$today=date("d-m-Y");
$time=date("h-i-s");
$score=0;

print "<b>คุณ</b> $name ";
print "<b>ชั้นเรียน</b> $class";
print "<b>โรงเรียน</b> $school<p>";
print "คำตอบแบบทดสอบก่อนเรียนวิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นของคุณ $name <br>";
print "ในวันที่ $today เวลา $time คือ<p>";

print "<b>ข้อ1</b>. $test1<br>";
if ($test1=="monitor") {print"ถูกต้อง<img src=t.gif><p> "
; $score++;} else {print"ไม่ถูกต้อง <img src=f.gif><p>";}

print "<b>ข้อ2</b>. $test2<br>";
if ($test2=="keyboard") {print"ถูกต้อง<img src=t.gif><p>";
$score++;} else {print"ไม่ถูกต้อง <img src=f.gif><p>";}

print "<br> <img src=scor.jpg><br>ได้คะแนนเท่ากับ $score <p>";

//การบันทึกระบบฐานข้อมูล MySQL

//ติดต่อโปรแกรมฐานข้อมูล MySQL
              $link=mysql_connect("localhost","","");
              if (!$link)
              {
                         print("ERROR");
              }
                 else
              {
//ติดต่อฐานข้อมูล MySQL ชื่อ test
              mysql_select_db("test",$link);

//เปิด ตารางชื่อ testcom และ เขตข้อมูล ชื่อ name,class,school,today,time,score
               $sql="insert into testcom (name,class,school,today,time,score)
                        values ('$name','$class','$school','$today','$time','$score')";

//เพิ่มข้อมูลลง Database
               $res = mysql_query( $sql , $link );
               if ($res==1)
                   print("Adding to table OK.");
               else
                   print("Error Adding to table. ");
}

//เปิดดูข้อมูล

print "<br><a href=show1.php>เปิดดูข้อมูล</a>";
?>

</body>
</html>

หากพบข้อความ เตือน ใดๆ จะมีความหมายดังนี้

  • ERROR หมายถึงติดต่อฐานข้อมูลไม่ได้
  • Adding to table OK. หมายถึงติดต่อฐานข้อมูลได้และทำการเพิ่มข้อมูลลงตารางแล้ว
  • Error Adding to table หมายถึงติดต่อฐานข้อมูลได้แต่ไม่สามารถเพิ่มข้อมูลลงตารางได้


ที่มา source code ส่วนระบบฐานข้อมูล:Thaidev.com
(ผู้เขียนนำมาปรับปรุงเพื่อใช้ในการเรียนการสอน ต้องขอขอบพระคุณ Thaidev.com มา ณ ที่นี้)

สงวนลิขสิทธิ์©: ThaiWBI.com. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาสกร เรืองรอง